logo

GREEN SET

Green project School of Engineering and Technology

       School of Engineering and Technology There is a main action plan in accordance with the university policy. Which can be tracked according to information from GREEN WU

       Currently, the basic building project improvement is under construction. By supporting activities such as renovation activities around the building with students 

1.1. Size of area of the department’s building
School of Engineering and Technology Located at Academic Building 4, Walailak University, 222 Thai Tha Buri Subdistrict, Tha Sala District, Nakhon Si Thammarat Province 80160

1.2. The area size covered with vegetation

1.3. The total number of personnel of the department

School of Engineering and Technology Walailak University There are a total of 63 people consisting of

  • 55 teachers
  • Support staff: 8 people
    A total of 63 people

Letter of appointment work group to drive the green university (Green University) department level School of Engineering and Technology Walailak University

 

 

The School of Engineering and Technology has a 5S project that has been implemented since the beginning of service. By having a campaign to reduce electricity usage

2.1. Using electrical appliances that save energy.

2.2. Renewable energy production

  •  none

2.3. Greenhouse gas emission reduction program

  • Tree planting committee of new students and personnel

  • Using bicycles instead of cars

     – Number of bicycles which are the property of the university, amount 2 vehicles

     – Number of bicycles that are private property of 25 personnel

   

  • Reducing the use of foam and others.

2.4. Energy conservation policy of agencies

  • Turn off the air conditioner for 30 minutes before finishing work.
  • Adjust the air conditioner at a temperature of 25 degrees Celsius.

  • Turn off the lights at noon or when there are no people in the room

  • Turn off the lights / unplug When not in use

School of Engineering and Technology There is waste management from the 5S campaign. There is a policy to reduce the use of plastic paper.

3.1. Paper and plastic reduction policy in the department

  • The use of a food carrier, lunch box, cloth bag and glass Aluminum water viewing tube Instead of using bags or plastic glasses

  • Using two-sided paper By taking one page of paper Re-use

  • Using the E-Office system to send documents to reduce paper use.

  • Using the E-Car system to reserve a shuttle To reduce the use of documents

  • Using the E-MEETING / E-JPAS / Repair System / Elearning system to reduce document use

3.2. Waste recycling campaign

  • Waste separation

3.3. Management of toxic waste

  • There is waste disposal according to the university’s policy. Especially chemicals in the laboratory And data collection in the field

3.4. Organic waste management

  • There is waste disposal according to the university’s policy. By separating waste

3.5. Inorganic waste treatment

  • There is waste disposal according to the university’s policy. By separating waste

3.6. Waste water management

  • Have a water management system within the building According to the university system

ข้อมูลการใช้งานน้ำ (Click)

ปีพ.ศ.น้ำประปา (ลบ.ม.)น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ (ลบ.ม.)
2560111,3860
2561121,3860
2562169,3810

4.1.โครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษ์/การลดการใช้น้ำในหน่วยงาน

4.2. การดำเนินโครงการรีไซเคิลน้ำ

  • ไม่มี

4.3. การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำที่มีประสิทธิภาพ

  • ไม่มี

4.4. นโยบายการอนุรักษ์การใช้น้ำของหน่วยงาน

  • ปิดน้ำเมื่อไม่ใช้งาน
  • กดชักโครกให้น้อยครั้งลง

5.1. จำนวนเฉลี่ยรถจักรยานที่ใช้งานภายในหน่วยงานของแต่ละวัน

  • จำนวนรถจักรยานที่เป็นทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย จำนวน 2 คัน
  • จำนวนรถจักรยานที่เป็นทรัพย์สินส่วนตัวของบุคลากร จำนวน 25 คัน

5.2. ความคิดริเริ่มระบบการขนส่งเกี่ยวกับการลดยานพาหนะส่วนตัวในมหาวิทยาลัย

  • การใช้รถไฟฟ้า มวล.

“มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้นำรถไฟฟ้า ภายใต้ชื่อโครงการรถไฟฟ้ามวล. มาใช้เป็นระบบขนส่งภายใน ให้บริการแก่นักศึกษา-บุคลากร เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดภาวะโลกร้อน ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2561 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นรถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์”

โดยระบบขนส่งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีเส้นทางครอบคลุมถึง สำนักวิชาฯ ซึ่งหากจะเดินทางด้วยรถไฟฟ้าต้องใช้รถไฟฟ้าสายสีม่วง

  • การใช้รถจักรยานในชีวิตประจำวัน

5.3. นโยบายการใช้รถจักรยานและทางเดินเท้า

6.1. รายวิชาทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

    สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี  ได้ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม และได้เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยรายวิชาที่เกี่ยวข้อกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้

1.กลุ่มวิชาเอกบังคับ

ESI60-200   หลักนิเวศวิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม  (Principles of Ecology for Environmental science)

ESI60-202   สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Environment and Sustainable Development)

ESI60-203   สภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Global Warming and Climate Change)

ESI60-231   การสำรวจระยะไกลและฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อม  (Remote Sensing and Environmental Databases)

ESI60-311   นิเวศวิทยาทางน้ำ  (Aquatic Ecology)

ESI60-312   เคมีในบรรยากาศและมลพิษทางอากาศ (Atmospheric Chemicals and Air Pollution)

ESI60-321   การวิเคราะห์และการควบคุมมลพิษทางน้ำ  (Water Analysis and Water Pollution Control for Environment)

ESI60-322   การวิเคราะห์และการควบคุมมลพิษทางอากาศ เสียง และการสั่นสะเทือน (Analysis and Pollution Control for Air Sound and Vibration)

ESI60-323   มลพิษทางดินและการฟื้นฟู  (Soil Pollution and Remediation)

ESI60-324   เทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และของเสียอันตราย (Solid and Hazardous Waste Management)

ESI60-331*  การประยุกต์ใช้แบบจำลองทางสิ่งแวดล้อม  (Application of Environmental Modeling)

ESI60-341   กฎหมายและนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Law and Policy)

ESI60-351   ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  (Geographic Information System for Natural Resources and Environmental Management)                                            

ESI60-361   ระเบียบวิธีการวิจัยและจริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม (Research Methodology and Ethics)

ESI60-431   การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  (Environmental Impact Assessment)

ESI60-432   เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร  (Environmental and Resource Economics)

ESI60-433   การประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ  (Environmental and Health Risk Assessment)

2.กลุ่มวิชาเอกเลือก

ESI60-201   ธรณีวิทยาและการวางแผนการใช้ที่ดิน  (Geology and Landuse Planing)

ESI60-251   เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Energy and Environmental Technology)

ESI60-313   นิเวศพิษวิทยา (Ecotoxicology)

ESI60-325   การออกแบบระบบและการควบคุมมลพิษทางอากาศ  (Air Pollution System Design and Controls)

ESI60-326   การออกแบบระบบและการควบคุมมลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือน  (Sound and Vibration Pollution System Design and Controls)

ESI60-327   การออกแบบระบบและการควบคุมของเสียอันตราย (Hazardous Waste System Design and Controls)

ESI60-328   การออกแบบระบบและการควบคุมขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล  (Solid Waste and Sewage System Design and Controls)

ESI60-342   ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน (Environmental and Eneergy Management System)

ESI60-352   เทคโนโลยีพลังงานชีวมวลและการออกแบบ  (Bioenergy Technology and Design)

ESI60-353   อุตสาหกรรมสีเขียวและการพัฒนาอย่างยั่งยืน  (Green Industry and Sustainable  Development)

ESI60-441   การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม  (Environmental and Resources Conservation and Management)

ESI60-442   การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ  (Integrated Natural Resources and Environmental Management)

ESI60-451   เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความยั่งยืน  (Sufficient Economic for Sustainability)

ESI60-452   เทคโนโลยีการปรับปรุงคุณภาพน้ำและการออกแบบ  (Water Treatment Technology and Design)

ESI60-453   เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียและการออกแบบ  (Wastewater Treatment Technology and Design)

รูปกิจกรรม

1. การวิเคราะห์และการควบคุมมลพิษทางน้ำ

2. นิเวศวิทยาทางน้ำ 

3. เทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และของเสียอันตราย

4.การจัดการขยะ และมลพิษอากาศ

6.2. จำนวนทุนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

  • GREEN WU
  • GREEN SET ประกอบด้วยจำนวน 29 ทุน เช่น

                                                                          ปี 2561-2562

ลำดับ

หลักสูตร

ชื่อโครงการวิจัย

หัวหน้าโครงการ

จำนวนเงินทั้งโครงการ

1

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การสังเคราะห์ไบโอซาร์ด้วยชีวมวลเหลือทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อใช้เป็นวัสดุดูดซับ

ผศ.ดร.นิรัติศัย รักมาก

100,000.00

2

วิศวกรรมโยธา

การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายผลกระทบของความเค็มต่อความแข็งตึงของดินไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ

อ.ดร.เรจีย์ แก้วส่อง

100,000.00

3

วิศวกรรมโยธา

การประเมินค่าดัชนีการไหลพื้นฐานแบบลุ่มน้ำรวมสำหรับลุ่มน้ำภาคใต้

ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

59,900.00

4

วิศวกรรมโยธา

การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากเถ้าชานอ้อยโดยใช้การกระตุ้นทางเคมีร่วมกับไมโครเวฟ

ผศ.ดร.กิตติพงค์ คุณจริยกุล

100,000.00

5

วิศวกรรมโยธา

ศึกษาปัจจัยความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์และอุณหภูมิในการบ่มสำหรับการผลิตอิฐเถ้าลอยผสมเถ้าปาล์มน้ำมันจีโอพอลิเมอร์

ผศ.ดร.ปฏิมาพร สุขมาก

100,000.00

6

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

โครงการ ผลของขี้เถ้าต่อการสร้างขนาดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอสเอบีเพื่อบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตขนมจีน

รศ.ดร.ชัยรัตน์  ศิริพัธนะ

337,400.00

7

วิศวกรรมโยธา

การควบคุมประตูระบายน้ำเพื่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง

ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

721,075.00

8

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

การควบคุมประตูระบายน้ำเพื่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง

 ดร.สุขุมา ชิตาภรณ์พันธุ์

288,430.00

9

วิศวกรรมโยธา

การพยากรณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำและโค้งกฎการปฏิบัติงานอ่างเก็บน้ำที่เหมาะสมสำหรับอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส

ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

776,930.00

10

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

นักวิจัยท้องถิ่นและเครือข่ายชุมชนเพื่อการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในลุ่มน้าปากพนัง

อ.ดร.รุ่งเรือง  จันทา

495,235.00

11

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

การประเมินคุณภาพดินตะกอนและสัตว์หน้าดินในลุ่มน้าปากพนัง

อ.ดร.จุฑามาศ รัตติกาลสุขะ

561,565.00

12

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบร่วมกับมูลไก่โดยใช้ขี้เถ้าปรับความเป็นกรด-ด่าง

รศ.ดร.ชัยรัตน์  ศิริพัธนะ

150,000.00

13

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากก๊าซชีวภาพโดยใช้เยื่อเมมเบรนเซลลูโลสอะซิเตด

ผศ.ดร.วิภาวี ขำวิจิตร

170,000.00

15

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การกำจัดแอมโมเนียไนโตรเจนจากน้ำเสียอุตสาหกรรมโดยเทคโนโลยีเมมเบรนคอนแทคเตอร์

อ.ดร.วิชิตพันธุ์  รองวงศ์

100,000.00

16

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

การออกแบบระบบควบคุมไฟส่องสว่างสาธารณะในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เนทของสรรพสิ่ง

ผศ.ดร.อนุรักษ์ ถุงทอง

100,000.00

17

วิศวกรรมโยธา

สมการทำนายค่ากำลังรับแรงเฉือนภายใต้การเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นและความหนาแน่นสัมพันธ์ของดินถมบดอัดต่างๆ

อ.ดร.กัมปนาท สุขมาก

63,300.00

18

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

การสร้างโปรแกรมประยุกต์ดัชนีคุณภาพน้าเพื่อประเมินคุณภาพน้ำในลุ่มน้าปากพนัง

 อ.ดร.รุ่งเรือง  จันทา

15,000.00

19

วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้

รศ. ดร.นิรันดร มาแทน

429,910.50

20

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีวมวลและปาล์มน้ำมัน

รศ. ดร.ชัยรัตน์ ศิริพัธนะ

447,693.25

21

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การสังเคราะห์ไบโอซาร์ด้วยชีวมวลเหลือทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อใช้เป็นวัสดุดูดซับ

ผศ.ดร.นิรัติศัย รักมาก

100,000.00

22

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

การสำรวจและศึกษาความหลากชนิดของพันธุ์ปลาทะเล บริเวณอ่าวปากพญา อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

อ.ดร.รุ่งเรือง จันทา

40,920.00

23

วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

การลดการยุบตัวของไม้ปาล์มน้ำมันในระหว่างการอบโดยการใช้สารลดแรงตึงผิว

รศ.ดร.นิรันดร มาแทน

502,000.00

24

วิศวกรรมโยธา

อิทธิพลของพิบัติภัยดินถล่มต่อคุณภาพน้ำผิวดินและดินตะกอนลำน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำคลองคราม ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผศ.ดร.ปฏิมาพร สุขมาก

539,000.00

25

วิศวกรรมโยธา

การจัดทำ database คู่มือความรู้แนวทางการลดการใช้สารเคมี

ผศ.ดร.กิตติพงค์ คุณจริยกุล

333,000.00

26

วิศวกรรมโยธา

พฤติกรรมที่ระดับความเครียดต่ำของดินเค็มที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ

อ.ดร.เรจีย์ แก้วส่อง

600,000.00

27

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

พัฒนาระบบควบคุมการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานบีบน้ำมันปาล์ม (POME) ร่วมกับกากตะกอนปาล์ม

รศ.ดร.ชัยรัตน์ ศิริพัธนะ

1,001,000.00

28

วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

การขยายขนาดการสังเคราะห์กรดซักซินิกด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชันและการทำให้บริสุทธิ์

รศ.ดร.กำชัย นุ้ยธิติกุล

800,000.00

29

วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

โครงการแผ่นผนังประหยัดพลังงานจากยางธรรมชาติ

ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง

1,396,800.00

รวม

10,429,158.75

6.3. จำนวนทุนวิจัยทั้งหมด

  • GREEN WU
  • GREEN SET ประกอบด้วยจำนวน 37 ทุน ดังนี้

                                                                              ปี 2561-2562

    ลำดับ

    หลักสูตร

    ชื่อโครงการวิจัย

    หัวหน้าโครงการ

    จำนวนเงินทั้งโครงการ

    1

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การสังเคราะห์ไบโอซาร์ด้วยชีวมวลเหลือทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อใช้เป็นวัสดุดูดซับ

    ผศ.ดร.นิรัติศัย รักมาก

    100,000.00

    2

    วิศวกรรมโยธา

    การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายผลกระทบของความเค็มต่อความแข็งตึงของดินไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ

    อ.ดร.เรจีย์ แก้วส่อง

    100,000.00

    3

    วิศวกรรมโยธา

    การประเมินค่าดัชนีการไหลพื้นฐานแบบลุ่มน้ำรวมสำหรับลุ่มน้ำภาคใต้

    ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

    59,900.00

    4

    วิศวกรรมโยธา

    สมรรถนะการเฉือนทะลุของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีส่วนผสมของคอนกรีตเก่า

    ผศ.สัจจพันธ์ ลีละตานนท์

    200,000.00

    5

    วิศวกรรมโยธา

    การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากเถ้าชานอ้อยโดยใช้การกระตุ้นทางเคมีร่วมกับไมโครเวฟ

    ผศ.ดร.กิตติพงค์ คุณจริยกุล

    100,000.00

    6

    วิศวกรรมโยธา

    ศึกษาปัจจัยความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์และอุณหภูมิในการบ่มสำหรับการผลิตอิฐเถ้าลอยผสมเถ้าปาล์มน้ำมันจีโอพอลิเมอร์

    ผศ.ดร.ปฏิมาพร สุขมาก

    100,000.00

    7

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    โครงการ ผลของขี้เถ้าต่อการสร้างขนาดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอสเอบีเพื่อบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตขนมจีน

    รศ.ดร.ชัยรัตน์  ศิริพัธนะ

    337,400.00

    8

    วิศวกรรมโยธา

    การควบคุมประตูระบายน้ำเพื่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง

    ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

    721,075.00

    9

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    การควบคุมประตูระบายน้ำเพื่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง

     ดร.สุขุมา ชิตาภรณ์พันธุ์

    288,430.00

    10

    วิศวกรรมโยธา

    การพยากรณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำและโค้งกฎการปฏิบัติงานอ่างเก็บน้ำที่เหมาะสมสำหรับอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส

    ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

    776,930.00

    11

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    นักวิจัยท้องถิ่นและเครือข่ายชุมชนเพื่อการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าและเฝ้าระวังคุณภาพน้าในลุ่มน้าปากพนัง

    อ.ดร.รุ่งเรือง  จันทา

    495,235.00

    12

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    การประเมินคุณภาพดินตะกอนและสัตว์หน้าดินในลุ่มน้าปากพนัง

    อ.ดร.จุฑามาศ รัตติกาลสุขะ

    561,565.00

    13

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบร่วมกับมูลไก่โดยใช้ขี้เถ้าปรับความเป็นกรด-ด่าง

    รศ.ดร.ชัยรัตน์  ศิริพัธนะ

    150,000.00

    14

    วิศวกรรมโยธา

    การต่อไม้ยางพาราด้วยกระบวนการฟิงเกอร์จ๊อยสำหรับใช้ในงานโครงสร้าง

    ผศ.ดร.สุธน  ศรีวะโร

    100,000.00

    15

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากก๊าซชีวภาพโดยใช้เยื่อเมมเบรนเซลลูโลสอะซิเตด

    ผศ.ดร.วิภาวี ขำวิจิตร

    170,000.00

    16

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การกำจัดแอมโมเนียไนโตรเจนจากน้ำเสียอุตสาหกรรมโดยเทคโนโลยีเมมเบรนคอนแทคเตอร์

    อ.ดร.วิชิตพันธุ์  รองวงศ์

    100,000.00

    17

    วิศวกรรมโยธา

    ประสิทธิภาพของการเสริมกำลังคานคอนกรีตรับแรงดัดโดยการฝังเส้นคอนโพสิตด้านข้าง

    อ.ดร.ทนงศักดิ์  อิ่มใจ

    100,000.00

    18

    วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

    การออกแบบระบบควบคุมไฟส่องสว่างสาธารณะในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เนทของสรรพสิ่ง

    ผศ.ดร.อนุรักษ์ ถุงทอง

    100,000.00

    19

    วิศวกรรมโยธา

    สมการทำนายค่ากำลังรับแรงเฉือนภายใต้การเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นและความหนาแน่นสัมพันธ์ของดินถมบดอัดต่างๆ

    อ.ดร.กัมปนาท สุขมาก

    63,300.00

    20

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    การสร้างโปรแกรมประยุกต์ดัชนีคุณภาพน้าเพื่อประเมินคุณภาพน้ำในลุ่มน้าปากพนัง

     อ.ดร.รุ่งเรือง  จันทา

    15,000.00

    21

    วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

    ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้

    รศ. ดร.นิรันดร มาแทน

    429,910.50

    22

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีวมวลและปาล์มน้ำมัน

    รศ. ดร.ชัยรัตน์ ศิริพัธนะ

    447,693.25

    23

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การสังเคราะห์ไบโอซาร์ด้วยชีวมวลเหลือทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อใช้เป็นวัสดุดูดซับ

    ผศ.ดร.นิรัติศัย รักมาก

    100,000.00

    24

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    การสำรวจและศึกษาความหลากชนิดของพันธุ์ปลาทะเล บริเวณอ่าวปากพญา อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

    อ.ดร.รุ่งเรือง จันทา

    40,920.00

    25

    วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

    การลดการยุบตัวของไม้ปาล์มน้ำมันในระหว่างการอบโดยการใช้สารลดแรงตึงผิว

    รศ.ดร.นิรันดร มาแทน

    502,000.00

    26

    วิศวกรรมโยธา

    อิทธิพลของพิบัติภัยดินถล่มต่อคุณภาพน้ำผิวดินและดินตะกอนลำน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำคลองคราม ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    ผศ.ดร.ปฏิมาพร สุขมาก

    539,000.00

    27

    วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

    การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของขั้นตอนวิธีการตรวจจับไส้ไม้ยางพาราจากภาพถ่ายจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอลแบบปกติและการนำไปติดตั้งเพื่อใช้ในสายการผลิตของโรงเลื่อยไม้ยางพารา

    รศ.ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี

    500,000.00

    28

    วิศวกรรมโยธา

    การจัดทำ database คู่มือความรู้แนวทางการลดการใช้สารเคมี

    ผศ.ดร.กิตติพงค์ คุณจริยกุล

    333,000.00

    29

    วิศวกรรมไฟฟ้า

    การศึกษาความต้องการใช้คลื่นความถี่ของประเทศไทย

    ผศ.ดร.สราวุธ จันทเขต

    1,000,000.00

    30

    วิศวกรรมไฟฟ้า

    การศึกษาปริมาณการใช้คลื่นความถี่ต่างๆ ในด้านกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย

    ผศ.ดร.สราวุธ จันทเขต

    697,777.80

    31

    วิศวกรรมไฟฟ้า

    การศึกษาปริมาณการใช้คลื่นความถี่ต่างๆ ในด้านกิจการวิทยุโทรทัศน์ของประเทศไทย

    รศ.ดร.สุรัสวดี กุลบุญ ก่อเกื้อ

    173,333.33

    32

    วิศวกรรมไฟฟ้า

    การศึกษาปริมาณการใช้คลื่นความถี่ต่างๆ ในกิจการรองและกิจการอนาคตของประเทศไทย

    อ.ดร.ศิราพร ศักดิ์พรหม

    126,666.67

    33

    วิศวกรรมโยธา

    พฤติกรรมที่ระดับความเครียดต่ำของดินเค็มที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ

    อ.ดร.เรจีย์ แก้วส่อง

    600,000.00

    34

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    พัฒนาระบบควบคุมการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานบีบน้ำมันปาล์ม (POME) ร่วมกับกากตะกอนปาล์ม

    รศ.ดร.ชัยรัตน์ ศิริพัธนะ

    1,001,000.00

    35

    วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ

    การขยายขนาดการสังเคราะห์กรดซักซินิกด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชันและการทำให้บริสุทธิ์

    รศ.ดร.กำชัย นุ้ยธิติกุล

    800,000.00

    36

    วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

    โครงการแผ่นผนังประหยัดพลังงานจากยางธรรมชาติ

    ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง

    1,396,800.00

    37

    วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ

    StressWood meter: เครื่องวัดความเนในไม้แปรรูปอุตสาหกรรมความแม่นยำสูง

    รศ.ดร.นิรันดร มาแทน

    1,000,000.00

    รวม

    12,251,514.05

     

6.4. จำนวนผลงานตีพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

ปีงบประมาณ 2562

ลำดับ

ชื่อ-สกุล

ชื่อผลงานทางวิชาการ/งานสร้างสรรค์

ประเภทผลงาน (ผลงานทางวิชาการ/งานสร้างสรรค์)

ชื่อแหล่งตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงาน

1

อ.ดร.มนเทียร เสร็จกิจ

Palm oil fuel ash-soft soil geopolymer for subgrade applications: strength and microstructural evaluation.

งานวิจัย

Road Materials and Pavement Design 20.1 (2019): 110-131.

2

อ.ดร.เรจีย์ แก้วส่อง

Modelling effects of recent suction history on small-strain stiffness of unsaturated soil

งานวิจัย

Canadian Geotechnical Journal 56, no. 4 (2019): 600-610.

3

อ.ดร.กัมปนาท สุขมาก

Strength and Microstructure of Palm Oil Fuel Ash–Fly Ash–Soft Soil Geopolymer Masonry Units

งานวิจัย

Journal of Materials in Civil Engineering 31.8 (2019): 04019164.

4

ผศ.ดร.อุเทน ทับทรวง

Enhanced CO2 capturing over ultra-microporous carbon with nitrogen-active species prepared using one-step carbonization of polybenzoxazine for a sustainable environment

งานวิจัย

Journal of Environmental Management 223, 779-786, Oct 2018.

5

อ.ดร.จุฑามาศ รัตติกาลสุขะ

Partitioning of Cd, Zn and Fe in the Tissues and Cytosols of Blood Cockles (Anadara granosa)

งานวิจัย

Estuaries and coasts, 2019 

6

รศ.ดร.นิรันดร มาแทน

Controlled release of peppermint oil from paraffin coated activated carbon contained in sachets to inhibit mold growth during long term storage of brown rice

งานวิจัย

Journal of Food Science 84(4):832-841

7

ผศ.ดร.สุธน ศรีวะโร

Performance of cross laminated timber made of oil palm trunk waste for building construction: A pilot study

งานวิจัย

European Journal of Wood and Wood Products, 77(3), 353-365.

8

ผศ.ดร.นิรัติศัย รักมาก

Ethanol Extraction of Active Ingredients and Antioxidants from Germinated Sangyod Rice.

งานวิจัย

Applied Science and Engineering Progress.

9

อ.ดร.รุ่งเรือง จันทา

การติดตามตรวจสอบความเข้มข้นไนโตรเจนไดออกไซด์ในอากาศในจังหวัดลำปาง โดยการเก็บตัวอย่างแบบแพสซีฟ

งานวิจัย

วารสารวิทยาศาสตร์ มข.ปีที่ 46 เล่มที่ 3

10

ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ

Effects of climate change on agriculture water demand in lower Pak Phanang river basin, southern part of Thailand.

งานวิจัย

MATEC Web of Conferences. Vol. 192. EDP Sciences, 2018

6.5. จำนวนงานแสดงทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

  • GREEN WU
  • GREEN SET อย่างน้อย 8 กิจกรรม เช่น 

รูปกิจกรรม

1.กิจกรรมการแข่งขันตอบคำถามปัญหาสิ่งแวดล้อม ณ คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ ในวันวิชาการ ม.อ.  โดยนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ในวันอังคาร ที่ 20 สิงหาคม 2562

2.นักศึกษา​และอาจารย์​หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ม.วลัยลักษณ์ ​ ร่วมกับสมาคมประมงชายฝั่ง​ อำเภอ​ปากพนัง​ จังหวัด​นคร​ศรี​ธรรมราช​ ตรวจวัด​คุณภาพ​น้ำและดินที่บริเวณ​บ้านปลากลางอ่าวปากพนัง ในวันที่ 1 กันยายน 2562

3.นักศึกษาชั้นปีที่ 4 และคณาจารย์ เข้าร่วมนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการนานาชาติด้านสิ่งแวดล้อม The 5th EnvironmentAsia International Conference (EnvironmentAsia 2019) “Transboundary Environmental Nexus: From Local to Regional Perspectives” จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 13 มิถุนายน 2562

4.กิจกรรมอบรมมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001 : 2018 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมไฟฟ้า ในวันที่ 7-8 กันยายน 2562 

5.กิจกรรมอบรมข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 14001 : 2015 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือ นักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมเคมี และ หลักสูตรปิโตรเคมีและพอลิเมอร์ ในวันที่ 14 – 15 กันยายน 2562

6.โครงการศึกษาประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์​พื้นที่ลุ่มน้ำสะแกกรัง ณ จังหวัดอุทัยธานี ในวันที่ 16 สิงหาคม 2562 โดยนักศึกษา​และอาจารย์​หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ม.วลัยลักษณ์

7. กิจกรรมทัศนศึกษาดูงานสถานประกอบการ เช่น ESBEC บ่อฝังกลบขยะ หน่วยปฏิบัติการวิเคราะห์กลิ่น กรมควบคุมมลพิษ โดยนักศึกษา​และอาจารย์​หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ม.วลัยลักษณ์ ในวันที่ 25-27 มิถุยายน 2562

8.คณาจารย์ บุคคลากร และนักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรม Walailak Go Green ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2562

8. คณาจารย์ บุคคลากร และนักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ที่อาคารวิชาการ 4 หรือตึกของสำนักวิชา ในกิจกรรมต้อนรับนักศึกษาใหม่ 2562 ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2562 เพื่อปลุกจิตสำนักให้รักสิงแวดล้อม

9. คณาจารย์และบุคคลากร เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติใน โครงการปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 10 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เมื่อวันพุธที่​ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จัดโดย อุทยานพฤกษศาสตร์

10.งานประชุมวิชาการ SER Innovation day 2019 ของสำนักวิชาวิศวกรรมกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 1 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือ คณาจารย์ บุคคลากร และนักศึกษา ในวันที่ 3 เมษายน 2562

6.6. จำนวนชมรมหรือองค์กรนักศึกษาที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

  • GREEN WU
  • GREEN SET  สำนักวิชาวิศวกรรมกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ตระหนักและสนับสนุนให้มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมแก่ คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอก เช่น

Facebook Comments Box